Monday, October 20, 2014

บันทึกการเรียนประจำวันเสาร์ที่ 18 ตุลาคม 2557 

**เรียนชดเชยวันปิยะมหาราช**

บันทึกการเรียน


กิจกรรมในห้องเรียน

คุณครูทวนเพลงทั้งหมดและเต้นประกอบเพลง






คุณครูจับสลากไปร้องเพลงหน้าชั้นเรียนคนละ 1 เพลง 2 รอบ






สิ่งที่ได้จากการเรียนในวันนี้

ได้ร้องเพลงที่ถูกจังหวะและทำนองและร้องเพลงได้ที่ถูกต้อง ได้มีความกล้าแสดงออกเมื่ออยู่หน้าห้องเรียน ให้มีความมันใจในตัวเอง  
บันทึกการเรียน ประจำวันพฤหัสบดี ที่ 16 ตุลาคม 2557

บันทึกการเรียน


คุณครูสอนเพลงใหม่




คุณครูสอนเต้น เพลง ลมพัด



คุณครูให้เต้นเพลง รำวงดอกมะลิ  ตามใจชอบ






ตัวอย่าง การแต่งนิทานของเด็กปฐมวัย




 อาจารย์สอนให้ทำนิทานร่วมกันเรื่อง ทะเลสีฟ้าแสนสวย









ผลงานของเรา  ปี2



สิ่งที่ได้ในวันนี้

ได้รู้จักเพลงของเด็กปฐมวัยมากขึ้น
ได้ความคิดสร้างสรรค์จากนิทานที่แต่งกับเพื่อนๆ
ได้ทำกิจกรรมกับเพื่อนๆ และความเพลิดเพลิน
บันทึกการเรียนประจำวันพฤหัสบดีที่  2  ตุลาคม  2557

 บันทึกการเรียน
อาจารย์ให้ทำชาตเพลงที่ตนเองไดรับผิดชอบ
ภาพประกอบการทำชาตเพลง





                                       ผลงานที่ได้




อาจารย์สอนวิธีการสอนให้เด็กร้องเพลง

1. อ่านให้เด็กๆฟัง 1  รอบ
2. ให้เด็กๆอ่านตาม 1 รอบ
3. ให้เด็กๆอ่านพร้อมกับคุณครู




สิ่งที่ได้ในการเรียนในวันนี้

ได้เรียนรู้เกี่ยวกับหลักการในการสอนร้องเพลงของเด็กปฐมวัย 
ได้การทำชาตเพลงที่ให้เด็กจำได้ง่าย

บันทึกการเรียนประจำวันพฤหัสบดีที่ 25 กันยายน 2557

บันทึกการเรียน


แนวทางการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
 - เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัชญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก


 Richard and Rodger (1995) ได้แบ่งมุมมองต่อภาษาในการจัดประสบการณ์เป็น 3 กลุ่ม
1. มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
   
2. มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
  
3.มุมมองด้านปฏิสัมพันธ์
   

การจัดประสบการณ์ทางภาษาที่เน้นทักษะภาษา
  - ให้เด็กรู้จักส่วนย่อยๆของภาษา

  
ธรรมชาติของเด็กปฐมวัย
  - สนใจอยากรู้ อยากเห็

  
- มีความคิดสร้างสรรค์

การสอนภาษาแบบธรรมชาติ
  -สอนแบบบูรณาการ /องค์รวม
  -สอนในสิ่งที่เด็กสนใจและมีความหมายสำหรับเด็ก
  -สอดแทรกการฝึกทักษะ การฟัง พูด อ่าน เขียน
  -ไม่เข้มงวดกับการท่อง สะกด


หลักการของการสอนภาษาแบบธรรมชาติ
1. การจัดสภาพแวดล้อม
2. การสื่อสารที่มีความหมาย
3. การเป็นแบบอย่าง
4. การตั้งความคาดหวัง
5. การคาดคะเน

   
กิจกรรมในห้องเรียน








ความรู้ที่ได้ในวันนี้

เราจะได้เอาความรู้ที่ได้ไปใช้กับเด็กในการสอนในอนาคต แบบการสอนภาษาธรรมชาติ
เด็กจะเรียนเรียนและเลียนแบบกับสิ่งที่เด็กเห็น ที่เขาคิดว่าดี

บันทึกการเรียนประจำวันพฤหัสบดีที่ 18 กันยายน 2557

                                  

บันทึกการเรียน







นำเสนองานในหัวข้อทักษะภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย  ฟัง พูด อ่าน เขียน

1. การฟัง   
   ทักษะการฟัง 
การฟังคือ กระบวนการของการได้ยินแล้วใช้เสมอแปลความหมาย
วัย 2 ขวบ ชอบฟังอะไรที่มันสั้นๆ และเสียงของธรรมชาติ





2.การพูดสำหรับเด็กปฐมวัย 
 เด็กสามารถพูดออกเป็นคำได้ตั้งแต่ 9-10 เดือน และเริ่มเลียนแบบเสียงที่เขาได้ยิน
2-3 ขวบ จะเริ่มรู้คำศัพท์เพิ่มมากขึ้น จาก 50 คำ เป็น 300 คำ
เมื่อ 3 ขวบ สามารถพูดประโยคที่ซับซ้อนขึ้นได้

พัฒนาการทางด้านภาษา
-การรับรู้และการเข้าใจภาษา
-การแสดงออกและการพูด

แนวทางการสอนเด็กปัญญาอ่อน
-เวลาสอนควรใช้ภาษาระดับเดียวกัน
-ในระยะแรกเริ่มสอนตั้งแต่คำพยางค์เดียวก่อน

อนุบาล 1 ชอบพูดเป็นคำ คำเดียวโดดๆ
อนุบาล 2 พูดเป็นประโยชน์สั้นๆ
อนุบาล 3 ประโยชน์จะสมบูรณ์แบบ เริ่มมีคำวิเศษณ์เข้ามาในการพูด






3. การอ่าน    
       

 การอ่าน  คือ  กระบวนการที่ผู้อ่านรับรู้สารซึ่งเป็นความรู้  ความคิด  ความรู้สึก  และ ความคิดเห็นที่ผู้เขียนถ่ายทอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร
วัยทารก (infant) : 1 ขวบปีแรก
        - 6-8 เดือนแรกเด็กทุกคนเริ่มสามารถรับรู้ความแตกต่างของหน่วยเสียงที่มีอยู่ในทุกภาษาทั่วโลกได้
        ก่อนอายุ 10 เดือนเด็กจะเริ่มปรับความสามารถให้เข้ากับหน่วยเสียงและไวยากรณ์ของภาษาแม่หรือผู้เลี้ยงดู
        - หลังจากอายุ 10 เดือนความสามารถดังกล่าวเริ่มจำกัดการพัฒนาอยู่เฉพาะในภาษาแม่
วัยเตาะแตะ (toddler) : 1-3 ปี
        - เด็กให้ความสนใจเสียงที่เด็กไม่สามารถพูดได้
        - แสดงความสนใจเสียงหรือกลุ่มเสียงที่เหมือนกันเมื่อมีการอ่านกลอน หรือเล่าเรื่องนิทานที่มีคำคล้องจอง
        - เริ่ม มีการเชื่อมโยงเสียงกับตัวอักษร เช่น เมื่อเด็กอ่านหนังสือกับผู้เลี้ยงดู เด็กจะชี้และพยายามออกเสียงตามตัวอักษร หรือใช้คำจากภาษาพูดเพื่อเชื่อมโยงเสียงกับตัวอักษร เช่น /d/daddy, /b/bee, /ก/ไก่, /จ/จาน
วัยก่อนเรียนระยะต้น(early preschool) : อายุ 3-4 ปี
       -  มีความสนใจเสียงต่าง ๆ ของภาษา โดยเฉพาะ "คำคล้องจอง" (rhyme) ที่มีในเพลง
        -  บอกตัวอักษรได้ 10 ตัว โดยเฉพาะตัวอักษรที่อยู่ในชื่อของเด็ก
วัยก่อนเรียนระยะปลาย(late preschool) : อายุ 4-5 ปี           - สามารถ แยกพยางค์ในคำที่ฟังได้ (ร้อยละ 50 เด็กสามารถบอกจำนวนพยางค์ในคำที่ฟังได้) wa แก้ว-น้ำ, water (เช่น แก้วน้ำ-ter เป็นคำที่มีสองพยางค์ เป็นต้น)
            - เริ่มแยกหน่วยเสียงย่อย ในคำที่ฟังได้ (ร้อยละ 20 เด็กสามารถบอกจำนวนหน่วยเสียงย่อยในคำที่ฟังได้)
วัยอนุบาลตอนต้น(beginning kindergarten) : อายุ 5-5 ½ ปี
        
สามารถเปรียบเทียบคำสองคำที่ฟังว่าคล้องจองกันหรือไม่ (เช่น กา-ขา, cat-bat)
        
สามารถบอกคำที่มีเสียงคล้องจองกับคำที่ฟังได้
        
สามารถบอกตัวอักษรได้เกือบทุกตัว





4. การเขียน 
การเขียนของเด็กปฐมวัย คือ การเขียนถ่ายทอดเรื่องราวความคิดออกมาอย่างมีความหมาย

อวัยวะที่เกี่ยวข้องกับการเขียน
-มือ
-ตา
-สมองหรือสติปัญญา
  





อาจารย์สอนร้องทบทวนเพลงเมื่อสัปดาห์ที่แล้ว

ความรู้ที่ได้ในวันนี้

- เด็ปปฐมวัยชอบฟังอะไรที่มันสั้นๆ และเสียงของธรรมชาติ
เด็กสามารถพูดออกเป็นคำได้ตั้งแต่ 9-10 เดือน และเริ่มเลียนแบบเสียงที่เขาได้ยิน
- การอ่าน ความคิดเห็นที่ผู้เขียนถ่ายทอดออกมาเป็นลายลักษณ์อักษร
การเขียนของเด็กปฐมวัย การเขียนถ่ายทอดเรื่องราวความคิดออกมาอย่างมีความหมาย
บันทึกการเรียนประจำวันพฤหัสบดีที่ 11 กันยายน 2557


บันทึกการเรีย

.แนวคิดนักการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาภาษาของเด็กปฐมวัย

        John B. watson
                  - ทฤษฏีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
                  - การวางเงื่อนไขพฤติกรรมของเด็ก เป็นสิ่งที่สามารถกระทำได้และผู้ใหญ่สามารถที่จะวางเงื่อนไขให้เด็กเกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้ทุกพฤติกรรม

    แนวคิดคิดกลุ่มพัฒนาการทางสติปัญญา
            
            Piaget
                - เด็กเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
                - ภาษาเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นระดับพัฒนาการทางสติปัญญาของเด็ก
            
            Vygotsky
                - เด็กเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
                - สังคม บุคคลรอบข้างมีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
                - เน้นบทบาทของผู้ใหญ่
                - ผู้ใหญ่ช่วยชี้แนะและขยายประสบการณ์ด้านภาษาของเด็ก

           กระบวนการเรียนรู้

           1. การดูดซึม(Assimilation)  
           2. การปรับความเข้าใจเดิมให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่(Accommodation)
    
  แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อเรื่องความพร้อมทางร่างกาย
  
            Arnold Gesell
                 - เน้นความพร้อมทางด้านร่างกายในการใช้ภาษา
                 - ความพร้อม วุฒิภาวะของเด็กแต่ละคนไม่เท่ากัน
                 - เด็กบางคนอาจมีความพร้อมทางร่างกายในการใช้ภาษาได้เร็ว
                 - เด็กบางคนอาจมีปัญหาอวัยวะบางส่วนที่ใช้ภาษาในการสื่อสารบกพร่อง
         
  แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อว่าภาษาติดตัวมาแต่กำเนิด
           
           Noam Chomsky
                - ภาษาเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในตัวมนุษย์
                - การเรียนรู้ภาษาขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะ
                - มนุษย์เกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาษา มาตั้งแต่เกิด เรียกว่า LAD (Language Acquisition Derice) 
     
        แนวคิดของ O. Hobart Mowrer                                                                                                      คิดค้นทฤษฏีความพึงพอใจ 
         
        สอนร้องเพลง 10 เพลง
        วาดภาพสิ่งที่รักที่สุดในชีวิตพร้อมบรรยายภาพ

                                     ภาพกิจกรรมในห้องเรียน







ผลงานในวันนี้







Monday, October 6, 2014


บันทึกการเรียนประจำวันพฤหัสบดีที่ 4 กันยายน 2557

                   บันทึกการเรียน

1.การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัย
  
         ภาษา หมายถึง การสื่อสารความหมายเป็นเครื่องมือในการแสดงความคิดเห็น

2.ความสำคัญของภาษา
    1.ภาษาเป็นเครื่องมือในการสื่อสาร
    2.ภาษาเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
    3.ภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างความเข้าใจอันดีต่อกัน
    4.ภาษาเป็นเครื่องมือในการจรรโลงใจ
         
3.ทักษะทางภาษา
   1.การฟัง
   2.การพูด
   3.การอ่าน
   4.การเขียน
        
4.องค์ประกอบของภาษา
  1.phonology
  2.semantic
  3.syntax
  4.pragmatic
      
5.พัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย
  1.ระยะเปะปะ
  2.ระยะแยกแยะ
  3.ระยะเลียนแบบ


** คัดลายมือ ก-ฮ และ สระ **

รูปกิจกรรมในห้องเรียน